เกี่ยวกับวารสาร
วารสารฉบับปัจจุบัน
วารสารฉบับก่อนๆ
กองบรรณาธิการ
คำแนะนำในการส่งต้นฉบับ
สมัครสมาชิก
อีเมล์เตือน
สมาคมจิตแพทย์
ติดต่อ
ค้นหาบทความในวารสาร


สนับสนุนการจัดทำโดย

วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย
Journal of the Psychiatrist Association of Thailand
ISSN: 0125-6985

บรรณาธิการ มาโนช หล่อตระกูล
Editor: Manote Lotrakul, M.D.


ดัชนี ปีที่ 44 ประจำปี 2542

ดัชนีผลงานทางวิชาการที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย ปีที่ 44 ประจำปี 2542 ตั้งแต่ฉบับที่ 1-4 โดยมีตัวย่อที่ใช้ในที่นี้ดังนี้

(น.) - นิพนธ์ต้นฉบับ

(ร.) - รายงานผู้ป่วย

(ฟ.) - บทความฟื้นวิชา

(พ.) - บทความพิเศษ

(บ.) - บทบรรณาธิการ

(ป.) - ปกิณกะ

ดัชนีหัวเรื่อง 

ครอบครัว

ครอบครัวบำบัด : มุมมองของทีมผู้รักษาและสมาชิกในครอบครัวต่อปัญหาครอบครัว. (น.) วัจนินทร์ โรหิตสุข, ศิริรัตน์ คุปติวุฒิ, สมรอริยานุชิตกุล 44 (3) :258-268.

พฤติกรรมของคู่สมรสไทยในเรื่องการทำหน้าที่ในครอบครัว. (น.) พรรณพิมล หล่อตระกูล, จันทร์ชนก โยธินชัชวาลย์ 44 (4) :320-328.

จิตบำบัด

จิตเวชบนแผ่นฟิล์ม : จิตบำบัดใน “Good Will Hunting”. (พ.) เธียรชัย งามทิพย์วัฒนา 44 (4) :370-382.

เด็กและวัยรุ่น

โรคแพนิคในเด็กและวัยรุ่น: ทบทวนวรรณกรรมและรายงานผู้ป่วย 2 ราย. (ร.) ศุภรัตน์ เอกอัศวิน 44 (1) :65-72.

ปัญหาการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาในกรุงเทพมหานคร. (น.) กวี สุวรรณกิจ,วัจนินทร์ โรหิตสุข, สุชีรา ภัทรายุตวรรตน์, สมร อริยานุ-ชิตกุล, เพ็ญพรรณ ทุมมาศ 44 (1) :55-64.

สุขภาพจิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาในเขตเทศบาลเมืองชัยภูมิ. (น.) สกล ด่านภักดี 44 (3) :213-227.

นักเรียน นักศึกษา

ปัญหาการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาในกรุงเทพมหานคร. (น.) กวี สุวรรณกิจ,วัจนินทร์ โรหิตสุข, สุชีรา ภัทรายุตวรรตน์, สมร อริยานุ-ชิตกุล, เพ็ญพรรณ ทุมมาศ 44 (1) :55-64.

สุขภาพจิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาในเขตเทศบาลเมืองชัยภูมิ. (น.) สกล ด่านภักดี 44 (3) :213-227.

การศึกษาพฤติกรรมของเด็กวัยก่อนเรียนในชุมชนทางตอนเหนือของกรุงเทพฯ. (น.) วรุณา กลกิจโกวินท์ 44 (3) :228-238.

การสำรวจลักษณะอุปนิสัยและบุคลิกภาพของนักศึกษาแพทย์ศิริราช. (น.) ม.ล.แสงจันทร์ วุฒิกานนท์, กนกรัตน์ สุขะตุงคะ, สุชีรา ภัทรายุตวรรตน์ 44 (3) :239-257.

นิติจิตเวช

สิทธิของผู้ป่วยจิตเวช. (พ.) ประทักษ์ ลิขิตเลอสรวง 44 (4) :361-369.

แบบวัด แบบประเมิน

การตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างของแบบสอบถาม The General Health Questionnaire-28 ฉบับภาษาไทย โดย confirmatory factor analysis. (น.) เวทินี สุขมาก 44 (1) :46-54.

การสำรวจลักษณะอุปนิสัยและบุคลิกภาพของนักศึกษาแพทย์ศิริราช. (น.) ม.ล.แสงจันทร์ วุฒิกานนท์, กนกรัตน์ สุขะตุงคะ, สุชีรา ภัทรายุตวรรตน์ 44 (3) :239-257.

การสร้างเกณฑ์ปกติสำหรับวัดสุขภาพจิตในคนไทย. (น.) สุชีรา ภัทรายุตวรรตน์, เธียรชัย งามทิพย์วัฒนา, กนกรัตน์ สุขะตุงคะ 44 (4) :285-297.

การพัฒนาแบบวัด Behavior and Symptom Identification Scale (BASIS-32) ฉบับภาษาไทย. (น.) รณชัย คงสกนธ์ 44 (4) :298-307.

ผู้สูงอายุ

การให้บริการสุขภาพจิตในประเทศญี่ปุ่น. (พ.) เกษม ตันติผลาชีวะ 44 (3) :273-279

พยาบาล

การศึกษาเปรียบเทียบระดับ vigilance ของพยาบาลที่ขึ้นปฏิบัติงานในผลัดต่างๆ ณ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์. (น.) จารุรินทร์ ปิตานุพงศ์, วรัญ ตันชัยสวัสดิ์ 44 (1) :12-18.

เจตคติต่อการพยาบาลจิตเวชและปัญหา อุปสรรคในการพยาบาลจิตเวชของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. (น.) ศักดา กาญจนาวิโรจน์กุล, ศิริพร ทองบ่อ 44 (3) :201-212.

พฤติกรรมฆ่าตัวตาย

อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของการพยายามฆ่าตัวตายในผู้ป่วยจิตเภทที่เข้ารักษาในโรงพยาบาลศิริราช. (น.) สุดสบาย จุลกทัพพะ, เธียรชัย งามทิพย์วัฒนา, จริยา จันตระ 44 (2) :99-109.

ความคิดเห็นต่อปัญหาการฆ่าตัวตายในสังคมไทย. (น.) เธียรชัย งามทิพย์วัฒนา, สุชีรา ภัทรายุตวรรตน์ 44 (4) :329-343.

ยารักษาโรคจิต

รูปแบบในการสั่งยารักษาผู้ป่วยจิตเภทที่ป่วยเป็นครั้งแรกของจิตแพทย์ไทย. (น.) พิเชฐ อุดมรัตน์ 44 (2) :119-124

ขนาดของยารักษาโรคจิตในการรักษาผู้ป่วยจิตเภทเรื้อรัง : ติดตามเป็นเวลา 10 ปี. (น.) ฐานันดร์ ปิยะศิริศิลป์, ปิยพงศ์ จึงสมานุกูล 44 (2) :125-133.

ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยา olanzapine ในการรักษาโรคจิตเภทในคนไทย. (น.) รณชัย คงสกนธ์, เธียรชัย งามทิพย์วัฒนา, สุชีรา ภัทรายุตวรรตน์44 (2) :140-146.

ประสิทธิภาพและการยอมรับยารักษาโรคจิตชนิดผิดพวก. (น.) มานิต ศรีสุรภานนท์, ณรงค์ มณีทอน 44 (2) :147-155.

Neuroleptic Malignant Syndrome : การศึกษาย้อนหลัง 5 ปี. (น.) เกษม ตันติผลาชีวะ 44 (3) :189-200

การกินยา olanzapine เกินขนาด: รายงานผู้ป่วย 1 ราย. (ร.) พ.ท.พงศธร เนตราคม 44 (3) :269-272.

การใช้ยารักษาโรคจิตร่วมกับลิเทียมในผู้ป่วยโรคอารมณ์แปรปรวนชนิดคลุ้มคลั่ง. (น.) รักสุดา กิจอรุณชัย 44 (4) :354-360.

 โรคจิต

อาการโรคจิตในโรคซึมเศร้าในผู้ป่วยไทย. (น.) รัตนา สายพานิชย์, มาโนช หล่อตระกูล 44 (1) :19-29.

โรคจิตเภท

ผลของโครงการป้องกันการกำเริบของโรคจิตเภทในประเทศไทย: เปรียบเทียบหนึ่งปีก่อนและหลังเริ่มโครงการ. (น.) ธีระ ลีลานันทกิจ, พิเชฐ อุดมรัตน์, ชูศรี เกิดพงษ์บุญโชติ 44(1):3-11.

การนำผู้ป่วยจิตเภทไปรักษาด้วยวิธีพื้นบ้านก่อนมารักษาที่โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่น. (น.) พินลดา มุลาลี, เสงี่ยม สารบัณฑิตกุล, ทัศนีย์ ศิริมุกดากุล, ธนาพร อรุณเกียรติกุล, นเรศร์ มุลาลี 44 (2) :80-89.

แนวโน้มการวินิจฉัยโรคจิตเภทและโรคทางอารมณ์ในผู้ป่วยไทยช่วง 10 ปี. (น.) ดวงใจ กสานติกุล, เดชา ลิลิตอนันต์พงศ์ 44 (2) :90-98.

อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของการพยายามฆ่าตัวตายในผู้ป่วยจิตเภทที่เข้ารักษาในโรงพยาบาลศิริราช. (น.) สุดสบาย จุลกทัพพะ, เธียรชัย งามทิพย์วัฒนา, จริยา จันตระ 44 (2) :99-109.

แผนผังการรักษาโรคจิตเภทของโรงพยาบาลศูนย์เชียงรายประชานุเคราะห์. (น.) ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ และคณะ 44 (2) :110-118

รูปแบบในการสั่งยารักษาผู้ป่วยจิตเภทที่ป่วยเป็นครั้งแรกของจิตแพทย์ไทย. (น.) พิเชฐ อุดมรัตน์ 44 (2) :119-124

ขนาดของยารักษาโรคจิตในการรักษาผู้ป่วยจิตเภทเรื้อรัง : ติดตามเป็นเวลา 10 ปี. (น.) ฐานันดร์ ปิยะศิริศิลป์, ปิยพงศ์ จึงสมานุกูล 44 (2) :125-133.

Clonazepam ชนิดฉีดเข้ากล้ามในการรักษาผู้ป่วยโรคจิตที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว. (น.) ปริทรรศ ศิลปกิจ, กิตติพงศ์ สานิชวรรณกุล, พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์, กิตติวรรณ เทียมแก้ว, สุรเชษฐ ผ่องธัญญา 44 (2) :134-139.

ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยา Olanzapine ในการรักษาโรคจิตเภทในคนไทย. (น.) รณชัย คงสกนธ์, เธียรชัย งามทิพย์วัฒนา, สุชีรา ภัทรายุตวรรตน์44 (2) :140-146.

ประสิทธิภาพและการยอมรับยารักษาโรคจิตชนิดผิดพวก. (น.) มานิต ศรีสุรภานนท์, ณรงค์ มณีทอน 44 (2) :147-155.

การรักษาด้วยไฟฟ้าในโรคจิตเภท. (ฟ.) วรวัฒน์ จันทร์พัฒนะ 44 (2) :156-170.

ความก้าวหน้าของโครงการป้องกันการกำเริบของโรคจิตเภทในประเทศไทย. (พ.) พิเชฐ อุดมรัตน์ 44 (2) :171-179.

Neuroleptic Malignant Syndrome : การศึกษาย้อนหลัง 5 ปี. (น.) เกษม ตันติผลาชีวะ 44 (3) :189-200

โรคซึมเศร้า

อาการโรคจิตในโรคซึมเศร้าในผู้ป่วยไทย: แง่มุมทางวัฒนธรรม. (น.) รัตนา สายพานิชย์, มาโนช หล่อตระกูล 44 (1) :19-29.

อาการรู้สึกผิดในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า เปรียบเทียบกับผู้ป่วยโรคจิตเภท ผู้ป่วยกลุ่มโรควิตกกังวล และบุคคลปกติ. (น.) มาโนช หล่อตระกูล, อุไร บูรณพิเชฐ 44 (1) :30-37.

โรคติดการพนัน

ความชุกของโรคติดการพนันในบุคลากรของโรงพยาบาลนครปฐม. (น.) อัจฉรา พงษ์ศศิธร 44 (4) :308-319

โรคแพนิค

โรคแพนิคในเด็กและวัยรุ่น: ทบทวนวรรณกรรมและรายงานผู้ป่วย 2 ราย. (ร.) ศุภรัตน์ เอกอัศวิน 44 (1) :65-72.

โรควิตกกังวล

อาการรู้สึกผิดในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า เปรียบเทียบกับผู้ป่วยโรคจิตเภท ผู้ป่วยกลุ่มโรควิตกกังวล และบุคคลปกติ. (น.) มาโนช หล่อตระกูล, อุไร บูรณพิเชฐ 44 (1) :30-37.

โรคอารมณ์แปรปรวน

แนวโน้มการวินิจฉัยโรคจิตเภทและโรคทางอารมณ์ในผู้ป่วยไทยช่วง 10 ปี. (น.) ดวงใจ กสานติกุล, เดชา ลิลิตอนันต์พงศ์ 44 (2) :90-98.

การใช้ยารักษาโรคจิตร่วมกับลิเทียมในผู้ป่วยโรคอารมณ์แปรปรวนชนิดคลุ้มคลั่ง. (น.) รักสุดา กิจอรุณชัย 44 (4) :354-360.

วัฒนธรรม

อาการโรคจิตในโรคซึมเศร้าในผู้ป่วยไทย: แง่มุมทางวัฒนธรรม. (น.) รัตนา สายพานิชย์, มาโนช หล่อตระกูล 44 (1) :19-29.

อาการรู้สึกผิดในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า เปรียบเทียบกับผู้ป่วยโรคจิตเภท ผู้ป่วยกลุ่มโรควิตกกังวล และบุคคลปกติ. (น.) มาโนช หล่อตระกูล, อุไร บูรณพิเชฐ 44 (1) :30-37.

การแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกของคนอีสาน. (น.) ศิริพร จิรวัฒน์กุล, ดารุณี จงอุดมการณ์, นิภา อังศุภากร, รัชนี วีระสุขสวัสดิ์, เกศินี สราญฤทธิชัย, ดารารัตน์ ตะกูลการ, สกาวรัตน์ ภูผา, สุมัฑนา แก้วมา, สุภาภรณ์ อุปลาบัติ 44 (1) :38-45.

การตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างของแบบสอบถาม The General Health Questionnaire-28 ฉบับภาษาไทย โดย confirmatory factor analysis. (น.) เวทินี สุขมาก 44 (1) :46-54.

การนำผู้ป่วยจิตเภทไปรักษาด้วยวิธีพื้นบ้านก่อนมารักษาที่โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่น. (น.) พินลดา มุลาลี, เสงี่ยม สารบัณฑิตกุล, ทัศนีย์ ศิริมุกดากุล, ธนาพร อรุณเกียรติกุล, นเรศร์ มุลาลี 44 (2) :80-89.

ศาสนา

การนำผู้ป่วยจิตเภทไปรักษาด้วยวิธีพื้นบ้านก่อนมารักษาที่โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่น. (น.) พินลดา มุลาลี, เสงี่ยม สารบัณฑิตกุล, ทัศนีย์ ศิริมุกดากุล, ธนาพร อรุณเกียรติกุล, นเรศร์ มุลาลี 44 (2) :80-89.

สุขภาพจิต

การตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างของแบบสอบถาม The General Health Questionnaire-28 ฉบับภาษาไทย โดย confirmatory factor analysis. (น.) เวทินี สุขมาก 44 (1) :46-54.

ปัญหาการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาในกรุงเทพมหานคร. (น.) กวี สุวรรณกิจ,วัจนินทร์ โรหิตสุข, สุชีรา ภัทรายุตวรรตน์, สมร อริยานุ-ชิตกุล, เพ็ญพรรณ ทุมมาศ 44 (1) :55-64.

สุขภาพจิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาในเขตเทศบาลเมืองชัยภูมิ. (น.) สกล ด่านภักดี 44 (3) :213-227

การศึกษาพฤติกรรมของเด็กวัยก่อนเรียนในชุมชนทางตอนเหนือของกรุงเทพฯ. (น.) วรุณา กลกิจโกวินท์ 44 (3) :228-238.

การสำรวจลักษณะอุปนิสัยและบุคลิกภาพของนักศึกษาแพทย์ศิริราช. (น.) ม.ล.แสงจันทร์ วุฒิกานนท์, กนกรัตน์ สุขะตุงคะ, สุชีรา ภัทรายุตวรรตน์ 44 (3) :239-257.

การให้บริการสุขภาพจิตในประเทศญี่ปุ่น. (พ.) เกษม ตันติผลาชีวะ 44 (3) :273-279

การสร้างเกณฑ์ปกติสำหรับวัดสุขภาพจิตในคนไทย. (น.) สุชีรา ภัทรายุตวรรตน์, เธียรชัย งามทิพย์วัฒนา, กนกรัตน์ สุขะตุงคะ 44 (4) :285-297.

พฤติกรรมของคู่สมรสไทยในเรื่องการทำหน้าที่ในครอบครัว. (น.) พรรณพิมล หล่อตระกูล, จันทร์ชนก โยธินชัชวาลย์ 44 (4) :320-328.

Vigilance

การศึกษาเปรียบเทียบระดับ vigilance ของพยาบาลที่ขึ้นปฏิบัติงานในผลัดต่างๆ ณ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์. (น.) จารุรินทร์ ปิตานุพงศ์, วรัญ ตันชัยสวัสดิ์ 44 (1) :12-18.

การศึกษาเปรียบเทียบระดับ vigilance ของพยาบาลเวรดึก. (น.) กัมปนาท ตันสิถบุตรกุล, วรัญ ตันชัยสวัสดิ์, นิศานติ์ สำอางศรี 44 (4) :344-354

ดัชนีชื่อผู้แต่ง

กนกรัตน์ สุขะตุงคะ

การสำรวจลักษณะอุปนิสัยและบุคลิกภาพของนักศึกษาแพทย์ศิริราช. (น.) 44(3) : 239-257.

การสร้างเกณฑ์ปกติสำหรับวัดสุขภาพจิตในคนไทย. (น.) 44 (4) :285-297.

กวี สุวรรณกิจ

ปัญหาการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาในกรุงเทพมหานคร. (น.) 44(1) : 55-64.

กัมปนาท ตันสิถบุตรกุล

การศึกษาเปรียบเทียบระดับ vigilance ของพยาบาลเวรดึก. (น.) 44 (4) :344-354.

กิตติพงศ์ สานิชวรรณกุล

Clonazepam ชนิดฉีดเข้ากล้ามในการรักษาผู้ป่วยโรคจิตที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว. (น.) 44(2): 134-139.

กิตติวรรณ เทียมแก้ว

Clonazepam ชนิดฉีดเข้ากล้ามในการรักษาผู้ป่วยโรคจิตที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว. (น.) 44(2): 134-139.

เกศินี สราญฤทธิชัย

การแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกของคนอีสาน. (น.) 44(1) : 38-45.

เกษม ตันติผลาชีวะ

Neuroleptic Malignant Syndrome : การศึกษาย้อนหลัง 5 ปี. (น.) 44(3) : 189-200.

การให้บริการสุขภาพจิตในประเทศญี่ปุ่น. (พ.) 44(3) : 273-279.

จริยา จันตระ

อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของการพยายามฆ่าตัวตายในผู้ป่วยจิตเภทที่เข้ารักษาในโรงพยาบาลศิริราช. (น.) 44(2): 99-109.

จันทร์ชนก โยธินชัชวาลย์

พฤติกรรมของคู่สมรสไทยในเรื่องการทำหน้าที่ในครอบครัว. (น.) 44 (4) :320-328.

จารุรินทร์ ปิตานุพงศ์

การศึกษาเปรียบเทียบระดับ vigilance ของพยาบาลที่ขึ้นปฏิบัติงานในผลัดต่างๆ ณ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์. (น.) 44(1) : 12-18.

ชูศรี เกิดพงษ์บุญโชติ

ผลของโครงการป้องกันการกำเริบของโรคจิตเภทในประเทศไทย: เปรียบเทียบหนึ่งปีก่อนและหลังเริ่มโครงการ. (น.) 44(1) : 3-11.

ฐานันดร์ ปิยะศิริศิลป์

ขนาดของยารักษาโรคจิตในการรักษาผู้ป่วยจิตเภทเรื้อรัง : ติดตามเป็นเวลา 10 ปี. (น.) 44(2): 125-133.

ณรงค์ มณีทอน

ประสิทธิภาพและการยอมรับยารักษาโรคจิตชนิดผิดพวก. (น.) 44(2): 147-155.

ดวงใจ กสานติกุล

แนวโน้มการวินิจฉัยโรคจิตเภทและโรคทางอารมณ์ในผู้ป่วยไทยช่วง 10 ปี. (น.) 44(2): 90-98.

ดารารัตน์ ตะกูลการ

การแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกของคนอีสาน. (น.) 44(1) : 38-45.

ดารุณี จงอุดมการณ์

การแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกของคนอีสาน. (น.) 44(1) : 38-45.

เดชา ลิลิตอนันต์พงศ์

แนวโน้มการวินิจฉัยโรคจิตเภทและโรคทางอารมณ์ในผู้ป่วยไทยช่วง 10 ปี. (น.) 44(2): 90-98.

ทัศนีย์ ศิริมุกดากุล

การนำผู้ป่วยจิตเภทไปรักษาด้วยวิธีพื้นบ้านก่อนมารักษาที่โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่น. (น.) 44(2): 80-89.

ธีระ ลีลานันทกิจ

ผลของโครงการป้องกันการกำเริบของโรคจิตเภทในประเทศไทย: เปรียบเทียบหนึ่งปีก่อนและหลังเริ่มโครงการ. (น.) 44(1) : 3-11.

เธียรชัย งามทิพย์วัฒนา

อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของการพยายามฆ่าตัวตายในผู้ป่วยจิตเภทที่เข้ารักษาในโรงพยาบาลศิริราช. (น.) 44(2): 99-109.

ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยา olanzapine ในการรักษาโรคจิตเภทในคนไทย. (น.) 44(2): 140-146.

การสร้างเกณฑ์ปกติสำหรับวัดสุขภาพจิตในคนไทย. (น.) 44 (4) :285-297.

ความคิดเห็นต่อปัญหาการฆ่าตัวตายในสังคมไทย. (น.) 44 (4) :329-343.

จิตเวชบนแผ่นฟิล์ม : จิตบำบัดใน “Good Will Hunting”. (พ.) 44 (4) :370-382.

ธนาพร อรุณเกียรติกุล

การนำผู้ป่วยจิตเภทไปรักษาด้วยวิธีพื้นบ้านก่อนมารักษาที่โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่น. (น.) 44(2): 80-89.

นเรศร์ มุลาลี

การนำผู้ป่วยจิตเภทไปรักษาด้วยวิธีพื้นบ้านก่อนมารักษาที่โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่น. (น.) 44(2): 80-89.

นิภา อังศุภากร

การแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกของคนอีสาน. (น.) 44(1) : 38-45.

นิศานติ์ สำอางศรี

การศึกษาเปรียบเทียบระดับ vigilance ของพยาบาลเวรดึก. (น.) 44 (4) :344-354.

ประทักษ์ ลิขิตเลอสรวง

สิทธิของผู้ป่วยจิตเวช. (พ.) 44 (4) :361-369.

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

แผนผังการรักษาโรคจิตเภทของโรงพยาบาลศูนย์เชียงรายประชานุเคราะห์. (น.) 44(2): 110-118.

ปิยพงศ์ จึงสมานุกูล

ขนาดของยารักษาโรคจิตในการรักษาผู้ป่วยจิตเภทเรื้อรัง : ติดตามเป็นเวลา 10 ปี. (น.) 44(2): 125-133.

ปริทรรศ ศิลปกิจ

Clonazepam ชนิดฉีดเข้ากล้ามในการรักษาผู้ป่วยโรคจิตที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว. (น.) 44(2): 134-139.

พ.ท.พงศธร เนตราคม

การกินยา olanzapine เกินขนาด: รายงานผู้ป่วย 1 ราย. (ร.) 44(3) (น.) 44(3) : 269-272.

พรรณพิมล หล่อตระกูล

พฤติกรรมของคู่สมรสไทยในเรื่องการทำหน้าที่ในครอบครัว. (น.) 44 (4) :320-328.

พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์

Clonazepam ชนิดฉีดเข้ากล้ามในการรักษาผู้ป่วยโรคจิตที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว. (น.) 44(2): 134-139.

พิเชฐ อุดมรัตน์

ผลของโครงการป้องกันการกำเริบของโรคจิตเภทในประเทศไทย: เปรียบเทียบหนึ่งปีก่อนและหลังเริ่มโครงการ. (น.) 44(1) : 3-11.

รูปแบบในการสั่งยารักษาผู้ป่วยจิตเภทที่ป่วยเป็นครั้งแรกของจิตแพทย์ไทย. (น.) 44(2): 119-124.

ความก้าวหน้าของโครงการป้องกันการกำเริบของโรคจิตเภทในประเทศไทย. (น.) 44(2): 171-179.

พินลดา มุลาลี

การนำผู้ป่วยจิตเภทไปรักษาด้วยวิธีพื้นบ้านก่อนมารักษาที่โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่น. (น.) 44(2): 80-89.

เพ็ญพรรณ ปทุมมาศ

ปัญหาการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาในกรุงเทพมหานคร. (น.) 44(1) : 55-64.

มานิต ศรีสุรภานนท์

ประสิทธิภาพและการยอมรับยารักษาโรคจิตชนิดผิดพวก. (น.) 44(2): 147-155.

มาโนช หล่อตระกูล

อาการโรคจิตในโรคซึมเศร้าในผู้ป่วยไทย. (น.) 44(1) : 19-29.

อาการรู้สึกผิดในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า เปรียบเทียบกับผู้ป่วยโรคจิตเภท ผู้ป่วยกลุ่มโรควิตกกังวล และบุคคลปกติ. (น.) 44(1) : 30-37.

รณชัย คงสกนธ์

ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยา olanzapine ในการรักษาโรคจิตเภทในคนไทย. (น.) 44(2): 140-146.

การพัฒนาแบบวัด Behavior and Symptom Identification Scale (BASIS-32) ฉบับภาษาไทย. (น.) 44 (4) :298-307.

รักสุดา กิจอรุณชัย

การใช้ยารักษาโรคจิตร่วมกับลิเทียมในผู้ป่วยโรคอารมณ์แปรปรวนชนิดคลุ้มคลั่ง. (น.) 44 (4) :354-360.

รัชนี วีระสุขสวัสด์

การแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกของคนอีสาน. (น.) 44(1) : 38-45.

รัตนา สายพานิชย์

อาการโรคจิตในโรคซึมเศร้าในผู้ป่วยไทย. (น.) 44(1) : 19-29.

วรรณี รัตนธรรมทอง

แผนผังการรักษาโรคจิตเภทของโรงพยาบาลศูนย์เชียงรายประชานุเคราะห์. (น.) 44(2): 110-118.

วรวัฒน์ จันทร์พัฒนะ

การรักษาด้วยไฟฟ้าในโรคจิตเภท. (น.) 44(2): 156-170.

วรัญ ตันชัยสวัสดิ์

การศึกษาเปรียบเทียบระดับ vigilance ของพยาบาลที่ขึ้นปฏิบัติงานในผลัดต่างๆ ณ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์. (น.) 44(1) : 12-18.

การศึกษาเปรียบเทียบระดับ vigilance ของพยาบาลเวรดึก. (น.) 44 (4) :344-354.

วรุณา กลกิจโกวินท์

การศึกษาพฤติกรรมของเด็กวัยก่อนเรียนในชุมชนทางตอนเหนือของกรุงเทพฯ. (น.) 44(3) : 228-238.

วัจนินทร์ โรหิตสุข

ปัญหาการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาในกรุงเทพมหานคร. (น.) 44(1) : 55-64.

ครอบครัวบำบัด : มุมมองของทีมผู้รักษาและสมาชิกในครอบครัวต่อปัญหาครอบครัว. (น.) 44(3) : 258-268.

เวทินี สุขมาก

การตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างของแบบสอบถาม The General Health Questionnaire-28 ฉบับภาษาไทย โดย confirmatory factor analysis. (น.) 44(1) : 46-54.

ศรีสมร นครแก้ว

แผนผังการรักษาโรคจิตเภทของโรงพยาบาลศูนย์เชียงรายประชานุเคราะห์. (น.) 44(2): 110-118.

ศักดา กาญจนาวิโรจน์กุล

เจตคติต่อการพยาบาลจิตเวชและปัญหา อุปสรรคในการพยาบาลจิตเวชของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. (น.) 44(3) : 201-212.

ศิริพร จิรวัฒน์กุล

การแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกของคนอีสาน. (น.) 44(1) : 38-45.

ศิริพร ทองบ่อ

เจตคติต่อการพยาบาลจิตเวชและปัญหา อุปสรรคในการพยาบาลจิตเวชของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. (น.) 44(3) : 201-212.

ศิริรัตน์ คุปติวุฒิ

ครอบครัวบำบัด : มุมมองของทีมผู้รักษาและสมาชิกในครอบครัวต่อปัญหาครอบครัว. (น.) 44(3) : 258-268.

ศุภรัตน์ เอกอัศวิน

โรคแพนิคในเด็กและวัยรุ่น: ทบทวนวรรณกรรมและรายงานผู้ป่วย 2 ราย. (น.) 44(1) : 65-72.

สกล ด่านภักดี

สุขภาพจิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาในเขตเทศบาลเมืองชัยภูมิ. (น.) 44(3) : 213-227 .

สกาวรัตน์ ภูผา

การแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกของคนอีสาน. (น.) 44(1) : 38-45.

สมร อริยานุชิตกุล

ปัญหาการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาในกรุงเทพมหานคร. (น.) 44(1) : 55-64.

ครอบครัวบำบัด : มุมมองของทีมผู้รักษาและสมาชิกในครอบครัวต่อปัญหาครอบครัว. (น.) 44(3) : 258-268.

สุชีรา ภัทรายุตวรรตน์

ปัญหาการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาในกรุงเทพมหานคร. (น.) 44(1) : 55-64.

ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยา Olanzapine ในการรักษาโรคจิตเภทในคนไทย. (น.) 44(2): 140-146.

การสำรวจลักษณะอุปนิสัยและบุคลิกภาพของนักศึกษาแพทย์ศิริราช. (น.) 44(3) : 239-257.

การสร้างเกณฑ์ปกติสำหรับวัดสุขภาพจิตในคนไทย. (น.) 44 (4) :285-297.

ความคิดเห็นต่อปัญหาการฆ่าตัวตายในสังคมไทย. (น.) 44 (4) :329-343.

สุดสบาย จุลกทัพพะ

อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของการพยายามฆ่าตัวตายในผู้ป่วยจิตเภทที่เข้ารักษาในโรงพยาบาลศิริราช. (น.) 44(2): 99-109.

สุพรรณี เกกินะ

แผนผังการรักษาโรคจิตเภทของโรงพยาบาลศูนย์เชียงรายประชานุเคราะห์. (น.) 44(2): 110-118.

สุภาภรณ์ อุปลาบัติ

การแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกของคนอีสาน. (น.) 44(1) : 38-45.

สุมัฑนา แก้วมา

การแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกของคนอีสาน. (น.) 44(1) : 38-45.

สุรเชษฐ ผ่องธัญญา

Clonazepam ชนิดฉีดเข้ากล้ามในการรักษาผู้ป่วยโรคจิตที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว. (น.) 44(2): 134-139.

เสงี่ยม สารบัณฑิตกุล

การนำผู้ป่วยจิตเภทไปรักษาด้วยวิธีพื้นบ้านก่อนมารักษาที่โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่น. (น.) 44(2): 80-89.

ม.ล.แสงจันทร์ วุฒิกานนท์

การสำรวจลักษณะอุปนิสัยและบุคลิกภาพของนักศึกษาแพทย์ศิริราช. (น.) 44(3) : 239-257.

อัจฉรา พงษ์ศศิธร

ความชุกของโรคติดการพนันในบุคลากรของโรงพยาบาลนครปฐม. (น.) 44 (4) :308-319.

อัปษรศรี ธนไพศาล

แผนผังการรักษาโรคจิตเภทของโรงพยาบาลศูนย์เชียงรายประชานุเคราะห์. (น.) 44(2): 110-118.

อุตสาห์ เทพเสรี

แผนผังการรักษาโรคจิตเภทของโรงพยาบาลศูนย์เชียงรายประชานุเคราะห์. (น.) 44(2): 110-118.

อุไร บูรณพิเชฐ

อาการรู้สึกผิดในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า เปรียบเทียบกับผู้ป่วยโรคจิตเภท ผู้ป่วยกลุ่มโรควิตกกังวล และบุคคลปกติ. (น.) 44(1) : 30-37.

Search | Present Issue | Archives | Editorial Board | Author Instructions | Subsribe | E-mail Alert | Contact

© Copyright The Psychiatric Association of Thailand. All Rights Reserved.1999-2001  

Home page Site map Contact us